งานวิจัย กลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ชื่อเรื่อง         

กลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับ คุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37

ผู้วิจัย             ธิดา เสมอใจ

สถานศึกษา      โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา  เขต 37

ปีการศึกษา      2562

                           การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการบริหารจัดการศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 372) สร้างกลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 373) ทดลองใช้กลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 374) ประเมินกลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37การวิจัยดำเนินการ 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การศึกษาความต้องการบริหารจัดการศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37มี 3 ส่วนคือ   1) การสังเคราะห์เนื้อหาจากเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา เพื่อให้ได้องค์ประกอบและรายการเกี่ยวกับการบริหารจัดการศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 372) การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์กลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37จากครู บุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 75 คน 3) การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็น  กลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37 ระยะที่ 2 การสร้างกลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37ดำเนินการ 4 ส่วน คือ1) การยกร่างกลยุทธ์การบริหารจัดการโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37โดยผู้วิจัยร่วมกับครู คณะกรรมการสถานศึกษา จำนวน 15 คน 2) การสนทนากลุ่ม (Focus Group) เพื่อหาข้อสรุปกลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 ท่าน 3) การประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของกลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 ท่าน 4) การสร้างคู่มือดำเนินงานบริหารจัดการสถานศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37 ระยะที่ 3 การทดลองใช้กลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37ดำเนินการ 2 ส่วนคือ1) การประเมินการปฏิบัติงานตามกลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37 โดยครู บุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 75 คน 2) การพัฒนากลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน ระยะที่ 4 การประเมินกลยุทธ์  การบริหารจัดการสถานศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37มี 5 ส่วน คือ 1) การเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37ระหว่างก่อนกับหลังการใช้กลยุทธ์ฯ 2) การประเมินความพึงพอใจที่มีต่อกลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37 คือ ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 34 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 9 คน 3) การประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37โดยผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 258 คน 4) การประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37โดยนักเรียน จำนวน 258 คน 5) ผลลัพธ์ที่เกิดจากการใช้กลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37

Related posts